UNHCR logo
  • บริจาค
  • ลงชื่อติดตามและสนับสนุนการทำงาน
UNHCR logo
  • Search
  • Thailand
  • Menu

Select a language for this section:

English ไทย

Select a language for our global site:

English Français Español عربي
Select a country site:
  • บริจาค
  • ลงชื่อติดตามและสนับสนุนการทำงาน
  • Media Centre
  • ติดต่อเรา

Share

Facebook Twitter
  • เกี่ยวกับ UNHCR
    • UNHCR ในประเทศไทย
    • อนุสัญญาปี ค.ศ.1951 ว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย
    • กลุ่มคนที่เราช่วยเหลือ
    • สถิติของ UNHCR ที่น่าสนใจ
    • ผู้สนับสนุนที่มีชื่อเสียง
  • การทำงานของเรา
    • การมอบความคุ้มครอง
    • ทางออกที่ยั่งยืน
    • การมอบความช่วยเหลือขั้นพื้นฐานและปัจจัยสี่
    • การศึกษา
    • สิ่งแวดล้อม ภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    • ความร่วมมือภาคเอกชน
  • สถานการณ์ฉุกเฉิน
    • การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา
    • วิกฤตการณ์ซีเรีย
    • สถานการณ์เมียนมา
    • วิกฤตการณ์ผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา
    • วิกฤตการณ์เยเมน
    • วิกฤตการณ์ซูดานใต้
    • วิกฤตการณ์เวเนซุเอลา
    • วิกฤตการณ์ชาด
    • วิกฤตการณ์เอธิโอเปีย
    • วิกฤตการณ์ในอัฟกานิสถาน
  • ข้อมูลข่าวสารล่าสุด
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • เรื่องราว
    • จดหมายข่าว
    • รายงานประจำปี
  • มีส่วนร่วมกับเรา
    • บริจาคออนไลน์
    • บริจาคผ่านพนักงานโดยตรง
    • บริจาคผ่านพนักงานทางโทรศัพท์
    • กิจกรรม
    • ผู้บริจาคของเรา : ครอบครัวผู้บริจาค UNHCR
    • ความร่วมมือจากบริษัท มูลนิธิ และองค์กรต่างๆ
    • กองทุนนักธุรกิจหญิงรุ่นใหม่เพื่อผู้ลี้ภัย
    • ผู้สนับสนุนพื้นที่สื่อสารองค์กรของ UNHCR
    • ลงชื่อสนับสนุน
    • ร่วมงานกับเรา
Search UNHCR
Close Search
 
  • Home

UNHCR เรียกร้องให้ประเทศเพื่อนบ้านของเมียนมามอบความคุ้มครองต่อผู้คนที่หนีจากความรุนแรง

ความคิดเห็นในข่าวนี้ โดย จิลเลี่ยน ทริคคส์ ผู้ช่วยข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติด้านการมอบความคุ้มครอง

1 เม.ย. 2021

ยางรถยนต์ที่กำลังถูกเพลิงไหม้บนถนนขณะการชุมนุมในประเทศเมียนมา วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2563 © REUTERS

เจนีวา 31 มีนาคม 2564

UNHCR เรียกร้องให้ประเทศเพื่อนบ้านของเมียนมามอบความคุ้มครองต่อผู้คนที่หนีจากความรุนแรง

ความคิดเห็นในข่าวนี้ โดย จิลเลี่ยน ทริคคส์ ผู้ช่วยข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติด้านการมอบความคุ้มครอง  

UNHCR หน่วยงานด้านผู้ลี้ภัยของสหประชาชาติ แสดงความกังวลใจต่อความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นในประเทศเมียนมา ซึ่งเป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมาณ และการพลัดถิ่นของผู้คน

เราตกใจกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นต่อประชาชนทั้งประเทศ รวมถึงการสู้รบที่เกิดขึ้นใหม่ระหว่างกองทัพเมียนมา และกลุ่มชาติพันธ์ในพื้นที่ต่างๆบริเวณชายแดน

เหตุการณ์เหล่านี้ในเมียนมากำลังบังคับให้ผู้คนต้องหนีภายในประเทศ และข้ามชายแดน

เราขอเรียกร้องอย่างเร่งด่วนต่อประเทศต่างๆในภูมิภาคให้มอบที่พักพิง และความคุ้มครองต่อผู้คนที่หนีเพื่อแสวงหาความปลอดภัย สิ่งสำคัญคือใครก็ตามที่ข้ามชายแดนเพื่อขอที่พักพิงในประเทศอื่นสามารถเข้าถึงความคุ้มครอง และที่พักพิงที่ปลอดภัย

ข้อเท็จจริงที่พิสูจน์มาแล้วว่าการบริหารจัดการชายแดนที่มีมนุษยธรรมเกิดขึ้นในช่วงที่เรามีมาตรการด้านสาธารณสุข และการควบคุมชายแดน เพื่อให้แน่ใจได้ว่าผู้คนที่ต้องการความคุ้มครองสามารถเข้าถึงพื้นที่ และการขอลี้ภัยได้

เด็ก ผู้หญิง ผู้ชาย ที่หนีเพื่อรักษาชีวิต สมควรได้รับที่พักพิงที่ปลอดภัย พวกเขาจะต้องไม่ถูกส่งกลับไปยังพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อชีวิต หรือเสรีภาพ หลักการห้ามผลักดันกลับ ถือเป็นหัวใจหลักของกฎหมายระหว่างประเทศที่ทุกประเทศมีข้อผูกพัน

ประเทศเพื่อนบ้านของเมียนมา มีประวัติศาสตร์อันยาวนานหลายทศวรรษในการมอบความคุ้มครอง และช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ในขณะที่สถานการณ์ในเมียนมาตึงเครียดมากขึ้น เราเรียกร้องให้ทุกประเทศยังคงรักษาแนวทางปฎิบัติในการมอบความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมที่รักษาชีวิตของทุกคนที่ถูกบังคับให้หนี

ทั่วทั้งภูมิภาค UNHCR และหน่วยงานที่เป็นพันธมิตรมีความพร้อมที่จะเพิ่มความช่วยเหลือต่อเจ้าหน้าที่รัฐบาล และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นเพื่อให้แน่ใจว่าผู้ลี้ภัยได้รับความคุ้มครองที่พวกเขาต้องการ

จบ

Share on Facebook Share on Twitter

 

See also

UNHCR ส่งเสริมให้มีการใช้มาตรการพัฒนาความเป็นอยู่และความปลอดภัยของผู้หนีภัยความไม่สงบชาวเมียนมาที่เข้ามาใหม่ในประเทศไทย

UNHCR สนับสนุนความพยายามในการให้ความช่วยเหลือผู้ลี้ภัยจากเมียนมาที่เดินทางมาถึงประเทศไทยและเน้นย้ำถึงความต้องการความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการมอบความคุ้มครอง

  • เกี่ยวกับ UNHCR
  • การทำงานของเรา
  • สถานการณ์ฉุกเฉิน
  • ข้อมูลข่าวสารล่าสุด
  • มีส่วนร่วมกับเรา

© UNHCR 2001-2023

  • Terms & Conditions and Privacy Policy
  • Follow